


สายด่วน !
เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 25655 อาจารย์มนตรี เรืองสิงห์ หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมจัดนิทรรศการวิชาการ โครงการวิจัยชุดวิจัยนวัตกรรมการพัฒนาและยกระดับมูลค่าผลิตภัณฑ์มังคุดโอทอปครบวงจรของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนภาคตะวันออก ในงานประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12 การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11 และ การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ ภายใต้แนวคิด: "9 ราชมงคลขับเคลื่อนนวัตกรรม นำเศรษฐกิจ ปลูกแนวคิดเทคโนโลยีสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน" (RMUT Driving toward innovation, Economy
เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2565 ผศ.ดร.ตวงสิริ สยมภาค รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมด้วย ผศ.สายใจ จริยาเอกภาส และนางสาวกนกรัตน์ เบญจมาศ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ลงพื้นที่สำรวจความต้องการของชุมชนบ้านหนองเลง เพื่อติดตามการนำองค์ความรู้จากคณาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่นำไปเผยแพร่สู่ชุมชนไปใช้ประโยชน์และความต้องการด้านวิชาชีพที่ชุมชนต้องการให้คณะเข้าไปช่วยถ่ายทอด เพื่อการต่อยอดด้านอาชีพและสร้างรายได้ในอนาคต
เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2565 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมทบ สันติเบ็ญจกุล และอาจารย์ภานุมาศ บุญผดุง อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เข้าร่วมเป็นคณะทำงานพิจารณา ตรวจสอบและกลั่นกรองผลิตภัณฑ์ที่สมัครและเข้าคัดสรรฯ ประเภทอาหารและเครื่องดื่มในงานคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย พ.ศ.
อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพ เป็นอาคารปฏิบัติการ และสำนักงานของอาจารย์จารย์ประจำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ และ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร
อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพ เป็นอาคารปฏิบัติการ และสำนักงานของอาจารย์จารย์ประจำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ และ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมจัดแสดงผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก และ 9 มทร. ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2564 “ศิลปะวิทยาศาสตร์ และเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Art - Science - Innovation and Creative Economy)” ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9-19 พฤศจิกายน 2564 ซึ่งมีผลงานของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมจัดแสดง ดังนี้
- ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากนมแพะ สามพอวิลเลจ อาทิ นมแพะพาสเจอร์ไรซ์ ชีสนมแพะ โยเกิร์ตนมแพะ ของศูนย์การเรียนรู้บ้านสามพอ จ.ฉะเชิงเทรา - ผงสีจากผลผักปลัง
เมื่อวันที่ 2 - 5 พฤศจิกายน 2564 ทีมงานโครงการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีชุมชนและสร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจชุมชน ต.ทางเกวียน อ.แกลง จ.ระยอง นำทีมโดย อ.พัชนี บุญธกานนท์ พร้อมด้วย อ.ภานุมาศ บุญผดุง อ.อมรรัตน์ โมราราช และ อ.ดร.อนงค์นาฏ โสภณางกูร รศ.ยิ่งยง รุ่งฟ้า วิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์หรือสินค้าชุมชน ลงพื้นที่จัดกิจกรรมกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนและยกระดับการป้องกันภัย COVID-19 อีกทั้งยังได้เชิญ อ.มาโนช รัตนคุณ อ.วีรยา ภูผิวคำ ถ่ายทอดความรู้ การทำเจลแอลกอฮอล์ ให้กับสมาชิกในชุมชน ทีมงาน U2T ต.ทางเกวียน อ.แกลง จ.ระยอง
เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2564 ผศ.ดร.สมทบ สันติเบ็ญจกุล และอ.ภานุมาศ บุญผดุง สังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะกรรมการเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จ.ชลบุรี เข้าร่วมโครงการส่งเสริมกระบวนการเครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge-Based OTOP : KBO) กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด ณ ห้องประชุมศรีรัตน ชั้น 2 โรงแรมรัตนชล อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบุรี ที่จัดขึ้นโดย มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด เป็นศูนย์กลางในการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถของผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น กลุ่มเป้าหมายจำนวน 40 คน ป